Your Partner for Food Industry
คณะกรรมการ CODEX ALLIMETARUIS ซึ่งเป็นคณะกรรมการร่วมระหว่างองค์การอนามัยโลกและองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ได้ประกาศใช้ HACCP CODEX ล่าสุด General Principles of Food Hygiene 2020 แนวทางการวิเคราะห์อันตรายในขั้นตอนที่ 6 (หลักการที่ 1) และ การกำหนดจุดควบคุมวิกฤติในขั้นตอนที่ 7 (หลักการที่…
รับเพียง 50 ท่านเท่านั้น กรอบแบบฟอร์ด้านล่างเพื่อลงทะเบียน จากการพลิกโฉมการจัดการความปลอดภัยอาหารของสหรัฐอเมริกาตามกฎหมาย Food Safety Modernization Act (FSMA) ภายใต้ระเบียบ Preventive Controls for Human Food , Foreign Supplier Verification Programs (FSVP)…
ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนเลข FDA ภายใต้กฎหมายการป้องกันการก่อการร้ายทางชีวภาพ Bioterrorism Act ในระบบ Food Facility Registration Module (FFRM) เตรียมต่ออายุการจดทะเบียนสถานประกอบการรอบ 2 ปี ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม – 31 ธันวาคม 2563 พื่อคงสถานะการรับรองทะเบียนสถานประกอบการ…
หลักสูตรภายในกฎหมาย Food Safety Modernization Act (FSMA) เช่น FSPCA Preventiev Controls for Human Food (สอนเป็นภาษาไทยและสอนเป็นภาษาอังกฤษ) หลักสุตร FSPCA Preventive Controls for Human Food (สอนเป็นภาษาไทยและสอนเป็นภาษาอังกฤษ)…
[vc_row][vc_column][vc_column_text css_animation=”rotateInUpLeft”]สารก่อภูมิแพ้ 8 ชนิดที่ FDA สหรัฐอเมริกาประกาศให้เป็นสารก่อภูมิแพ้ ซึ่งประกอบด้วย ถั่วลิสง (peanut) ถั่วเหลือง (soy) นม (milk) ไข่ (egg) ปลา (fish) สัตว์ทะเลน้ำเปลือกแข็ง (crustacean shelfish) นัทยืนต้น (tree nuts) ข้าวสาลี (wheat) สำหรับ Tree Nuts หรือนัทยืนต้น ตาม Section…
การจัดอบรมภายในหลักสูตรเชิงบูรณาการความปลอดภัยและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร In House Training for Integrating Food Safety and Productivity Management ด้วยบริบทของอุตสาหกรรมอาหารที่มักมีเรื่องความเสียงต่อคุณภาพในทุกข้นตอนการผลผลิต การมุ้งเน้นคุณภาพดก็ส่งต่อต้นทุนผลิตและราคาขายที่สูงขึ้น ทำให้คูแข่งมีโอกาสเข้าูตลาด การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางเพิ่มผลผลิตในการดำเนินงาน ก็ต้องคำถึงถึงความเสี่ยงต่อคุณภาพสินค้า การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อยอาจนำมาซึ่งความเสียหายจากความปลอดภัยอาหาร และคุณภาพสิ้น ในทางปฏิบัติ กิจกรรมโครงการลดค่าใช้จ่าย กิจกรรมโครงการเพิ่มผลผลิต ต้องพิจารณาดำเนินการที่เหมาะทั้งความสมารถในการลด่าใช้จ่ายแลมาตรการการควบคุมเกี่ยวกับความอดภัยอาหาร…
การจัดอบรมภายใน : หมวดการบริหารจัดการอุตสาหกรรมอาหาร การบริหารจัดการอุตสาหกรรมอาหาร ที่ประกอบไปด้วยบุคลากรที่มีพื้นฐานที่หลากหลาย การผลิตอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารยังคงใช้แรงงานเป็นหลักในการจัดเตรียมวัตถุดิบในการแปรรูป ในขณะที่ขั้นตอนการบรรจุ ฆ่าเชื้อหรือควบคุมการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์นั้นจำเป็นต้องใช้บุคลาการทีมีพื้นความรู้ทางวิศวกรรม วิทยศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ต้องประยุกต์ใช้ความรู้และวิธีแก้ปัญหาให้สอดคล้องกับการตลาด และบริบทของธุรกิจ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ แนวคิด การบริหารจัดการ เพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตโดยรวมขององค์ได้อย่างยั่งยืนยังเป็นสิ่งสำคัญ ที่บุคลาการควรได้รับการพัฒนา Food Pro Training Academy ได้พัฒนาหลักสูตรในการบริหารจัดการโดยเน้นการแก้ปํญหาจากบริบทของอุตสาหกรรมอาหารมาถ่ายทอดให้กับบุคคลากร…
ด้วยบริบทการดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารที่เปลี่ยนไปมากในปัจจุบัน ทั้งการจัดหา การขนถ่าย การผลิต การบรรจุสินค้า การจัดเก็บสินค้า การกระจายสินค้าที่อาจไม่ได้ทำให้เสร็จสมบูรณ์ได้ในสถานที่เดียวเช่นในอดีต แนวคิดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานรวมถึงตัวอย่างที่มีการเรียนการสอน การอบรมในปัจจุบันก็นำมาประยุกต์กับการปฏิบัตของอุตสาหกรรมอาหารได้ยากหากละเลยปัจจัยสำคัญที่เป็นลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมอาหารเพราะทั้งวัตถุดิบ ส่วนผสม รวมทั้งสินค้าสำเร็จรูปต่างก็มีความเสี่ยงจากการเสื่อมคุณภาพระหว่างการจัดเก็บและขนส่ง การออกแบบการจัดกาารโซ่อุปทาน รวมทั้งการกำหนดวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนการกำหนดตัววัดสมรรถนะของดำเนินงานจึงต้องพิจารณาทั้งประสิทธิภาพการดำเนินงาน และความเสี่ยงต่อคุณภาพสินค้า ให้เหมาะสมกับธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร การใช้ทรัพยกรต่างๆ ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าใจหลักการและวิธีการในการควบคุมการดำเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดขณะเดียวกันก็ต้องให้สอดคล้องกับระบบการจัดการความปลอดภัยอาหาร เช่น GMP/HACCP BRC ISO 22000 หรือ…
ด้วยสภาพการแข่งขันและความซับซ้อนทางธุรกิจ ทำให้ต้องเน้นประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านต้นทุนเพื่อให้ได้เปรียทางการแข่งขัน ขณะเดียวกันการดำเนินงานต่างก็ต้องเหมาะสมสอดคล้องกับการจัดการความปลอดภัยอาหาร ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารจึงต้องพัฒนาบุคลาการให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและเทคนิคในการวิเคราะห์ปัญหา รวมถึงวิธีการตัดสินใจ เพื่อนำไปสู่การเลือกแนวทางการปฏิบัติที่จะทำให้กิดการเพิ่มผลผลิตให้กับองค์กรโดยรวม เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทการดำเนินงานของอุตสาหกรรมอาหาร หลักสูตรเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการเพื่อการแก้ปัญหาและเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรมอาหารเป็นหลักสูตรที่ออกแบบเน้นหลักการและกรณีศึกษาของการนำเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการมาใช้กับอุตสาหกรรมอาหารโดยเฉพาะ จากวิทยากรผู้มีประสบการณ์ทำงานจากอุตสาหกรรมอาหารโดยตรง ไม่ได้นำตัวอย่างจากอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่บริบททางธุรกิจแตกต่างกันแล้วปล่อยให้ผู้เข้าอบรมไปคิดประยุกต์กับอุตสาหกรรมอาหารเอาเอง แต่เน้นตัวอย่างกรณีศึกษาการแก้ปัญหาและการเพิ่มผลลิตจากอุตสาหกรรมอาหารโดยตรง ผู้เข้าอบรมสามารถกำหนดแนวทางการแก้ปัญหา วิธีการดำเนินงานที่เหมาะสมทั้งประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านต้นทุน และความเสี่ยงต่อคุณภาพสินค้า ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าใจหลักการและวิธีการในการควบคุมการดำเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดขณะเดียวกันก็ต้องให้สอดคล้องกับระบบการจัดการความปลอดภัยอาหาร เช่น GMP/HACCP BRC ISO 22000…
[vc_row][vc_column animation=”flash”][vc_single_image image=”242″ img_size=”large” alignment=”center” onclick=”custom_link” img_link_target=”_blank” css_animation=”flash” link=”http://www.pantainorasingh.com/ “][vc_column_text css_animation=”flash”]In January 2017, Food Professional Development Alliance, the cooperation between Food Pro…